Call Us:
098-9245815
จันทร์ - เสาร์ : 09.00 น. - 18.00 น.
OUR LOCATION
178/50 ซ.วุฒากาศ 14 แขวงตลาดพลู เขตธนบุรี , กรุงเทพฯ 10600,
SEND US EMAIL
pichaipat@faifahpro.biz
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
บทความ
สื่อ
กิจกรรม
ติดต่อเรา
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
บทความ
สื่อ
กิจกรรม
ติดต่อเรา
ไฟฉุกเฉิน..มีไว้อุ่นใจกว่า
หน้าแรก
บทความ
ไฟฉุกเฉิน..มีไว้อุ่นใจกว่า
ไฟฉุกเฉิน..มีไว้อุ่นใจกว่า
สถานการณ์ไฟดับนั้นคงไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยๆ แต่จะดีกว่ามั้ยถ้าหากไฟดับแล้วเรายังมีแสงสว่างที่สามารถส่องแสงได้ตลอดทั้งคืนอีกด้วย อุปกรณ์ชิ้นนั้นไม่ใช่ไฟฉาย แต่เป็น
ไฟฉุกเฉิน
นั้นเอง
ไฟฉุกเฉิน
หรือ
Emergency Light System
ใช้งานในตอนที่เกิดปัญหาไฟฟ้าดับ ซึ่งช่วยให้สถานที่ที่ใช้ ไฟฉุกเฉิน มีแสงสว่างแบบอัตโนมัติโดยเฉพาะในเวลา การทำงานคือการใช้อุปกรณ์เก็บพลังงานไฟฟ้าไว้ในแบตเตอรี่ ปัจจุบัน การติดตั้ง
ไฟฉุกเฉิน
เป็นสิ่งที่จำเป็น ทั้งในอาคารสาธารณะตามกฎหมายกำหนด รวมถึงในบ้านหรือที่อยู่อาศัยด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อความปลอดภัยมาเป็นอันดับหนึ่ง
วิธีการติดตั้ง "
ไฟฉุกเฉิน
" ที่เหมาะสม ขึ้นอยู่กับสถานที่ สามารถติดตั้งได้ทั้งบนผนังและบนพื้นต้องอยู่ใกล้กับประตูและบันได หรือพื้นที่ต่างระดับ หลังจากติดตั้งแล้ว สิ่งที่ต้องสังเกต มีดังต่อไปนี้
- หลอดไฟ LED “AC” สีแดง ถ้ามีสว่าง ก็คือ ไฟเข้าเครื่องและเริ่มใช้งานได้แล้ว
- หลอดไฟ LED “ CHARGE” สีเหลือง ถ้ามีแสดงสว่างจะแสดงถึง สถานการณ์ชาร์ตแบตเตอรี่
- หลอดไฟ LED “BATT.FULL” ถ้ากลายเป็นสีเขียว หมายความว่าแบตเตอรี่เต็มแล้ว
เหตุผลในการติดตั้ง
ไฟฉุกเฉิน
ในบ้าน เพิ่มความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เมื่อเกิดเหตุไฟไหม้หรือไฟฟ้าดับ โคม
ไฟฉุกเฉิน
จะทำหน้าที่ให้แสงสว่างอัตโนมัติ หรือช่วย
สำรองไฟฟ้า
เพื่อลดการกระชากหรือชำรุดของอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ต่าง ๆ ภายในบ้านเรือน
ข้อควรพิจารณาในการติดตั้งระบบ ไฟฉุกเฉิน
ไม่ควรติดตั้งบนผนังที่มีความร้อนสูง เพราะจะเป็นสาเหตุที่ทำให้แบตเตอรี่เสื่อมเร็ว อีกทั้งไม่ควรติดตั้งในบริเวณที่มีความชื้นสูง เนื่องจากอาจเกิดสนิมและกระแสไฟฟ้าลัดวงจรได้
สำหรับวิธีใช้
ไฟฉุกเฉิน
จะเป็นสิ่งที่ง่าย เพราะไม่ต้องเปิดปิดเครื่องเอง ทุกอย่างจะถูกตั้งให้สามารถติดขึ้นเองโดยอัตโนมัติ เมื่อไฟดับไม่ว่าจะเป็นช่วงเวลากลางวันหรือกลางคืนระบบของ
ไฟฉุกเฉิน
ก็ทำงานได้ตามปกติ หลายคนอาจจะคิดว่าช่วงนี้ไฟไม่ค่อยดับจึงเลือกที่จะปิดสวิตท์ บอกเลยว่าจะเป็นการทำร้ายเครื่องให้มีอายุการใช้งานที่สั้นลง และระบบก็ไม่สามารถติดได้เองเมื่อยามที่ไฟดับ ดังนั้นวิธีใช้
ไฟฉุกเฉิน
จำเป็นต้องศึกษาควบคู่กับการดูแลรักษาจะดีที่สุด
Share this post :
Related Articles
ทำไมถึงควรตรวจระบบไฟฟ้าภายในบ้าน ??
การที่ไฟฟ้าบางจุดมีปัญหา ต้นเหตุอาจจะไม่ได้มาจากจุดนั้น ๆ เช่น เต้ารับมีไฟแล่บ เบรกเกอร์ทริป หลอดไฟติด ๆ ดับ ๆ บริการของไฟ...
สวิตช์ไฟทางเดียว กับ สวิตช์ไฟสองทางต่างกันยังไง??
เคยสงสัยกันมั้ยว่าสวิตช์ไฟทางเดียวกับสวิตช์ไฟสองทางแตกต่างกันยังไง ทางไฟฟ้าโปร ได้รวบรวมข้อมูลมาให้แล้ว มาดูกันสิว่าแตกต่า...
ป้องกันฟ้าผ่า สายล่อฟ้า
ในช่วงฤดูฝน หรือ ช่วงพายุเข้าบ่อยสิ่งที่หน้ากังวลไม่แพ้อุทกภัยคือปัญหาและความอันตรายของฟ้าผ่า ปรากฎการณ์ธรรมชาติที่จำเป็นต...
ติดต่อเรา
Read More